FAQ

ทำไมจึงจำเป็นที่จะต้องติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันฟ้าผ่า ไฟกระโชก ไฟกระชาก สำหรับ Load Cell

ทำไมจึงจำเป็นที่จะต้องติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันฟ้าผ่า ไฟกระโชก ไฟกระชาก สำหรับ Load Cell Load Cell ( โหลดเซลล์ ) คืออุปกรณ์ที่ใช้ในการวัดค่าแรงทางกล หลักการทำงานคือเมื่อมีแรงกระทำต่อ Load Cell แรงทางกลจะเปลี่ยนเป็นสัญญาณไฟฟ้า โดยสัญญาณจะถูกนำมาประมวลผลและส่งไปยังหน้าจอ ในภาคอุตสาหกรรม Load Cell ได้กลายเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์ โดยเฉพาะในกระบวนการที่ต้องการความแม่นยำสูง เช่น การวัดน้ำหนักของสินค้า, การควบคุมปริมาณสารเคมีในการผลิต เป็นต้น แต่อุปกรณ์เหล่านี้ค่อนข้างเปราะบางและเสียหายได้ง่ายจากความไม่เสถียรหรือความผิดปกติของระบบไฟฟ้าเมื่อมีฟ้าผ่าหรือการลัดวงจรของระบบส่งกำลังไฟฟ้า หรือการปิด-เปิด เครื่องใช้ไฟฟ้าขนาดใหญ่ ส่งผลให้มีแรงดันเกินเข้ามาในระบบไฟฟ้า ทั้งในรูป ไฟกระโชกแบบช่วงสั้น ( Transient ) และไฟกระโชกแบบช่วงยาว ( TOVs ) ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่อยู่เหนือการควบคุม เมื่อเกิดขึ้นแล้วอาจสร้างความเสียหายทางตรงให้กับอุปกรณ์ Load Cell ซึ่งทำให้ต้องเสียงบประมาณในการซ่อมแซมและจัดซื้ออุปกรณ์ใหม่ทดแทน นอกจากนี้ยังมีความเสียหายที่เกิดขึ้นโดยทางอ้อม เช่น Load Cell เกิดการเสียหายจนไม่สามารถใช้งานได้ ความเสียหายทางธุรกิจที่มี่มูลค่าความเสียหายมากมาย สุดที่จะประเมินค่าได้ ตามมาตรฐาน IEEE และ IEC […]

ทำไมจึงจำเป็นที่จะต้องติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันไฟกระโชก ไฟกระชาก (Surge Protection) สำหรับระบบโซล่าเซลล์ Solar cell

ทำไมจึงจำเป็นที่จะต้องติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันไฟกระโชก ไฟกระชาก (Surge Protection) สำหรับระบบโซล่าเซลล์ Solar cell ในปัจจุบันระบบพลังงานทดแทนได้รับความสนใจเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว หนึ่งในเทคโนโลยีที่เป็นการปฏิวัติการผลิตพลังงานคือ ระบบโซล่าเซลล์ หรือ พลังงานแสงอาทิตย์ การใช้พลังงานจากดวงอาทิตย์ไม่เพียงแต่เป็นทางเลือกที่ยั่งยืน แต่ยังเป็นการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญในการจัดการกับวิกฤตพลังงานที่เรากำลังเผชิญอยู่ ปัญหาหนึ่งที่สำคัญในระบบโซล่าเซลล์ เมื่อมีฟ้าผ่า หรือการลัดวงจรของระบบส่งกำลังไฟฟ้า หรือการปิด-เปิด เครื่องใช้ไฟฟ้าขนาดใหญ่ ส่งผลให้มีแรงดันเกินเข้ามาในระบบไฟฟ้า ทั้งในรูป ไฟกระโชกแบบช่วงสั้น( Transient ) และไฟกระโชกแบบช่วงยาว ( TOVs ) ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่อยู่เหนือการควบคุม เมื่อเกิดขึ้นแล้วอาจสร้างความเสียหายให้กับ แผงโซล่าเซลล์ อินเวอร์เตอร์ แบตเตอรี่ และอุปกรณ์อื่น ๆ ที่สำคัญ  ซึ่งทำให้ต้องเสียงบประมาณในการซ่อมแซมและจัดซื้ออุปกรณ์ใหม่ทดแทน ตามมาตรฐาน IEEE และ IEC ไฟกระโชกหรือไฟกระชาก ที่เกิดในสภาพเป็นจริงสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ ไฟกระโชกแบบช่วงสั้น ( Transient ) สาเหตุเกิดมาจาก ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เช่น ปรากฏการณ์ฟ้าผ่า และไฟกระโชกแบบช่วงยาว [...]

ทำไมจึงจำเป็นที่จะต้องติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันฟ้าผ่า ไฟกระโชก ไฟกระชาก สำหรับกล้องวงจรปิด

ทำไมจึงจำเป็นที่จะต้องติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันฟ้าผ่า ไฟกระโชก ไฟกระชาก สำหรับกล้องวงจรปิด ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว กล้องวงจรปิด ( CCTV : Closed Circuit Television System) ได้กลายเป็นเครื่องมือสำคัญในองค์กรต่างๆ ที่ใช้ในการเฝ้าระวังและบันทึกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นต่างๆ และยังช่วยเพิ่มความปลอดภัยให้กับผู้ที่อาศัยหรือทำงานในพื้นที่นั้นๆด้วย แต่อุปกรณ์เหล่านี้ค่อนข้างเปราะบางและเสียหายได้ง่ายจากความไม่เสถียรหรือความผิดปกติของระบบไฟฟ้า เมื่อมีฟ้าผ่า หรือการลัดวงจรของระบบส่งกำลังไฟฟ้า หรือการปิด-เปิด เครื่องใช้ไฟฟ้าขนาดใหญ่ เกิดขึ้น ส่งผลให้มีแรงดันเกินเข้ามาในระบบไฟฟ้า ทั้งในรูป ไฟกระโชกแบบช่วงสั้น ( Transient ) และไฟกระโชกแบบช่วงยาว ( TOVs ) ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่อยู่เหนือการควบคุม เมื่อเกิดขึ้นแล้วอาจสร้างความเสียหายทางตรงให้กับอุปกรณ์กล้องวงจรปิด ซึ่งทำให้ต้องเสียงบประมาณในการซ่อมแซมและจัดซื้ออุปกรณ์ใหม่ทดแทน นอกจากนี้ยังมีความเสียหายที่เกิดขึ้นโดยทางอ้อม เช่น กล้องวงจรปิดไม่สามารถบันทึกเหตุการณ์สำคัญๆ ความเสียหายทางธุรกิจทีมี่มูลค่าความเสียหายมากมาย สุดที่จะประเมินค่าได้ ตามมาตรฐาน IEEE และ IEC ไฟกระโชกหรือไฟกระชาก ที่เกิดในสภาพเป็นจริงสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ ไฟกระโชกแบบช่วงสั้น ( Transient ) สาเหตุเกิดมาจาก ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ [...]

ทำไมจึงจำเป็นที่จะต้องติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันฟ้าผ่า ไฟกระโชก ไฟกระชาก SiPAD ที่บ้าน

ทำไมจึงจำเป็นที่จะต้องติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันฟ้าผ่า ไฟกระโชก ไฟกระชาก SiPAD ที่บ้าน ในปัจจุบันอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆภายในบ้านที่ใช้กันอยู่นั้น มีความสำคัญเป็นอย่างมากในการใช้ชีวิต เทคโนโลยีต่างๆได้ถูกพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ทำให้อุปกรณ์ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ มีความสามารถในการทำงานได้เร็วมากขึ้น มีประสิทธิภาพสูงขึ้น แต่อุปกรณ์เหล่านี้ค่อนข้างเปราะบางและเสียหายได้ง่ายจากความไม่เสถียรหรือความผิดปกติของระบบไฟฟ้า ปัญหาหนึ่งในบ้านพักที่อยู่อาศัย เมื่อมีฟ้าผ่า หรือการลัดวงจรของระบบส่งกำลังไฟฟ้า หรือการปิด-เปิด เครื่องใช้ไฟฟ้าขนาดใหญ่ ส่งผลให้มีแรงดันเกินเข้ามาในระบบไฟฟ้า ทั้งในรูป ไฟกระโชกแบบช่วงสั้น( Transient ) และไฟกระโชกแบบช่วงยาว ( TOVs ) ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่อยู่เหนือการควบคุม เมื่อเกิดขึ้นแล้วอาจสร้างความเสียหายทางตรงให้กับอุปกรณ์ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์  คอมพิวเตอร์  อุปกรณ์สื่อสารต่างๆ  ซึ่งทำให้ต้องเสียงบประมาณในการซ่อมแซมและจัดซื้ออุปกรณ์ใหม่ทดแทน ตามมาตรฐาน IEEE และ IEC ไฟกระโชกหรือไฟกระชาก ที่เกิดในสภาพเป็นจริงสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ ไฟกระโชกแบบช่วงสั้น ( Transient ) สาเหตุเกิดมาจาก ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เช่น ปรากฏการณ์ฟ้าผ่า และไฟกระโชกแบบช่วงยาว Temporary Over Voltages ( TOVs ) […]

ทำไมจึงจำเป็นที่จะต้องติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันฟ้าผ่า ไฟกระโชก ไฟกระชาก HoPAD ที่บ้าน

ทำไมจึงจำเป็นที่จะต้องติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันฟ้าผ่า ไฟกระโชก ไฟกระชาก HoPAD ที่บ้าน ในปัจจุบันปัญหาหนึ่งในบ้านพักที่อยู่อาศัย เมื่อมีฟ้าผ่า หรือการลัดวงจรของระบบส่งกำลังไฟฟ้า หรือการปิด-เปิด เครื่องใช้ไฟฟ้าขนาดใหญ่ ส่งผลให้มีแรงดันเกินเข้ามาในระบบไฟฟ้า ทั้งในรูป ไฟกระโชกแบบช่วงสั้น ( Transient ) และไฟกระโชกแบบช่วงยาว ( TOVs ) เกิดขั้น ลำพัง Circuit Breaker, อุปกรณ์ป้องกันไฟดูด / RCBO / ELCB , UPS ฯลฯ ไม่สามารถป้องกันได้ตามที่ควร ทำให้อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ภายในบ้านได้รับความเสียหาย ตามมาตรฐาน IEEE และ IEC ไฟกระโชกหรือไฟกระชาก ที่เกิดในสภาพเป็นจริงสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ ไฟกระโชกแบบช่วงสั้น ( Transient ) สาเหตุเกิดมาจากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เช่น ปรากฏการณ์ฟ้าผ่า และไฟกระโชกแบบช่วงยาว Temporary Over Voltages [...]

ค่า Maximum continuous operation voltage (Uc) ของอุปกรณ์ SPD ควรมีค่ายิ่งสูงยิ่งดีจริงหรือ ?

ค่า Maximum continuous operating voltage (Uc) ของอุปกรณ์ SPD มีความหมายว่าอย่างไร ?  มีค่ายิ่งสูงยิ่งดีจริงหรือ ?   ค่า Maximum continuous operating voltage ของอุปกรณ์ SPD ( Surge Protective Device ) คือ ค่าแรงดันไฟฟ้าปกติสูงสุด   ที่อุปกรณ์ SPD จะไม่ทำงาน ( ไม่ทำการป้องกัน ) เพราะยังคงเห็นว่าเป็นแรงดันไฟฟ้าปกติอยู่  ตัวอย่างเช่น   1.อุปกรณ์ SPD รุ่น ABC มีค่าแรงดันไฟฟ้าปกติเฉลี่ย ( Un ) ที่ 220 Volt และมีค่าแรงดันไฟฟ้าปกติสูงสุด ( Uc )ที่ 275 Volt จะมีความหมายว่า […]

ระยะเวลาการทำงาน SPD ที่รวดเร็วและทำให้ Load ปลอดภัยหรือไม่ ?

คำถามจากลูกค้า : ช่วงการเกิด surge เอาตัว SPD ไปต่อ ขนาน เท่ากับว่าแรงดัน ตกคร่อมขณะนั้น เท่ากันหมด (แรงดันสูง 1000-6000 volt) แม้ว่ากระแสส่วนใหญ่จะไหลไปทาง SPD แต่แรงดันในวงจรขนานมันเท่ากันหมด ดังนั้น แรงดันที่ตกคร่อม โหลดกับแหล่งจ่ายไฟ ก็น่าจะเท่ากัน คำถามคือ โหลดกับแหล่งจ่าย จะทนแรงดันตรงนี้ได้มั้ยครับ เข้าใจว่าแรงดันจะลดลงเนื่อง transient ไม่ได้ลดลงเนื่องจาก SPD คำตอบ : ระยะเวลาในการเกิด surge จะมีระยะเวลาเศษหนึ่งส่วนล้านของวินาที และตัว SPD มี response time ที่รวดเร็วมากคือน้อยกว่า 25 nSec. มีค่าแรงดันปล่อยผ่านไปยัง load น้อยกว่า 1.5 kv ซึ่งโหลดโดยส่วนใหญ่จะยังคงปลอดภัยครับ

Why the energy meter(kWh meter) doesn’t affected by surge?

KWh meters mainly have 2 types 1) Analog meter type, this type is Copper Coil and CT inside and it very strong to withstand the surges, the CT is for inducing the electrical current and will not effect by direct surge strikes. 2) Digital meter type (TOU meter) this type is electronic components inside and […]

: Can there be water in the ground rod pit ? and will there be any danger?

: We can see cases of flooding in the ground rod pit quite often. What can be the cause? : The rainy season has abundant rainfall causing rainwater to flow into the ground rod pit. Near the sewer, causing water to seep into the ground rod pit. The high water level in the soil causes […]